เกณฑ์การเผยแพร่ผลงานวิจัย

วิธีการตรวจสอบข้อมูลวารสารในฐาน Scopus

และการหาค่า Quartile ใน SCImago Journal & Country Rank

scopus

หลักเกณฑ์การเผยแพร่ผลงานวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

นักศึกษา รหัส 56 – 59

6.1 ได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยดำเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการตอบรับการตีพิมพ์จากบรรณาธิการหรือผู้จัดทำวารสารให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ซึ่งมีเกณฑ์คณภาพ ดังนี้ (ประกาศฉบับที่ 5-2563)

     6.1.1 วารสารระดับนานาชาติที่ปรากฎอยู่ในฐานข้อมูลหรือเป็นวารสารที่สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ยอมรับ หรือเป็นวารสารระดับนานาชาติสำหรับการตีพิมพ์ผลงานวิจัยของนักศึกษาโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.)

         (1) ฐานข้อมูลและวารสารวิชาการกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ สกว. ยอมรับระดับนานาชาติ

         (2) ฐานข้อมูลและวารสารวิชาการกลุ่มสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่ สกว. ยอมรับระดับนานาชาติ

         (3) ฐานข้อมูลและวารสารวิชาการกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ที่ คปก. ยอมรับระดับนานาชาติ

     6.1.2 วารสารระดับนานาชาติตามประกาศล่าสุดของคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) กำหนด

         (1) ERIC  

         (2) MathSciNet 

         (3) Pubmed

         (4) Scopus

         (5) Web of Science (เฉพาะในฐานข้อมูล SCIE, SSCI และ AHCI เท่านั้น)

         (6) JSTOR

         (7) Project Muse

     โดยถือ ณ วันที่ผลงานนักศึกษาได้รับการตอบรับการตีพิมพ์เป็นหลัก

นักศึกษา รหัส 60 เป็นต้นไป

6.1 ได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับการตีพิมพ์จากบรรณาธิการหรือผู้จัดทำวารสารทางวิชาการ ให้ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ ที่เป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับเผยแพร่ผลงานวิชาการที่คณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) กำหนด (ประกาศฉบับที่ 2-2563)

         (1) ERIC  

         (2) MathSciNet 

         (3) Pubmed

         (4) Scopus

         (5) Web of Science (เฉพาะในฐานข้อมูล SCIE, SSCI และ AHCI เท่านั้น)

         (6) JSTOR

         (7) Project Muse

     โดยถือ ณ วันที่ผลงานนักศึกษาได้รับการตอบรับการตีพิมพ์เป็นหลัก

นักศึกษา รหัส 56 – 59

6.1 ได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยดำเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการตอบรับการตีพิมพ์จากบรรณาธิการหรือผู้จัดทำวารสารให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ซึ่งมีเกณฑ์คณภาพ ดังนี้ (ประกาศฉบับที่ 5-2563)

     6.1.1 วารสารระดับนานาชาติที่ปรากฎอยู่ในฐานข้อมูลหรือเป็นวารสารที่สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ยอมรับ หรือเป็นวารสารระดับนานาชาติสำหรับการตีพิมพ์ผลงานวิจัยของนักศึกษาโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.)

         (1) ฐานข้อมูลและวารสารวิชาการกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ สกว. ยอมรับระดับนานาชาติ

         (2) ฐานข้อมูลและวารสารวิชาการกลุ่มสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่ สกว. ยอมรับระดับนานาชาติ

         (3) ฐานข้อมูลและวารสารวิชาการกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ที่ คปก. ยอมรับระดับนานาชาติ

     6.1.2 วารสารระดับนานาชาติตามประกาศล่าสุดของคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) กำหนด

         (1) ERIC  

         (2) MathSciNet 

         (3) Pubmed

         (4) Scopus

         (5) Web of Science (เฉพาะในฐานข้อมูล SCIE, SSCI และ AHCI เท่านั้น)

         (6) JSTOR

         (7) Project Muse

     โดยถือ ณ วันที่ผลงานนักศึกษาได้รับการตอบรับการตีพิมพ์เป็นหลัก

6.2 ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงาน ได้รับการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร หรือมีผลงานอื่นๆ ที่เทียบเท่า เช่น งานนวัตกรรม งานออกแบบสร้างสรรค์หรือต้นแบบที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ หรือสาธารณประโยชน์ได้ (ประกาศฉบับปรับปรุง-2556)

6.3 ได้รับการตีพิมพ์หรือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงไทย (TCI) ในกลุ่มที่ 1 หรือ กลุ่มที่ 2 และอยู่ในฐานข้อมูล TCI หรือวารสารระดับชาติตามประกาศล่าสุดของคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) โดยถือ ณ วันที่ผลงานนักศึกษาได้รับการตีพิมพ์เป็นหลัก (ประกาศฉบับปรับปรุง-2556)

(ตรวจสอบรายชื่อวารสารที่อยู่ในฐาน TCI)

6.4 นำเสนอบทความวิจัยในที่ประชุมวิชาการและบทความฉบับสมบูรณ์ ต้องได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ระดับชาติหรือนานาชาติที่มีกองบรรณาธิการจัดทำรายงาน หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ นอกสถาบันเจ้าภาพ หรือจากต่างประเทศ อย่างน้อยร้อยละ 25 โดยที่นักศึกษาต้องเป็นผู้นำเสนอผลงานด้วยตนเองในวันและเวลาที่ผู้จัดประชุมกำหนด การนำเสนอจะเป็นการเสนอแบบปากเปล่าหรือแบบโปสเตอร์อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ (ประกาศฉบับที่ 3-2565)

6.5 ได้รับการเผยแพร่สู่สาธารณะ โดยผ่านการพิจารณาการประเมินบทความจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิก่อนการเผยแพร่ (เฉพาะนักศึกษาแผน ข) (ประกาศฉบับปรับปรุง-2556)

     (1) แบบประเมินคุณภาพบทความวิจัยของผู้ทรงคุณวุฒิ (แผน ข)

     (2) ตัวอย่างการจัดรูปแบบบทความวิจัย (แผน ข)

     (3) ขั้นตอนการตรวจสอบบทความวิจัยเพื่อการเผยแพร่ (แผน ข)

นักศึกษา รหัส 60 เป็นต้นไป

6.1 ได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับการตีพิมพ์จากบรรณาธิการหรือผู้จัดทำวารสารทางวิชาการ ให้ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ ที่เป็นไปตามเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับเผยแพร่ผลงานวิชาการที่คณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) กำหนด (ประกาศฉบับที่ 2-2563)

         (1) ERIC  

         (2) MathSciNet 

         (3) Pubmed

         (4) Scopus

         (5) Web of Science (เฉพาะในฐานข้อมูล SCIE, SSCI และ AHCI เท่านั้น)

         (6) JSTOR

         (7) Project Muse

     โดยถือ ณ วันที่ผลงานนักศึกษาได้รับการตอบรับการตีพิมพ์เป็นหลัก

6.2 ได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับการตีพิมพ์จากบรรณาธิการหรือผู้จัดทำวารสาร ให้ตีพิมพ์ในวารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ในกลุ่มที่ 1 หรือกลุ่มที่ 2 โดยถือ ณ วันที่ผลงานนักศึกษาได้รับการตอบรับการตีพิมพ์เป็นหลัก (ประกาศฉบับปี-2560)

(ตรวจสอบรายชื่อวารสารที่อยู่ในฐาน TCI)

6.3 นำเสนอบทความวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติโดยบทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ต้องได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจาการประชุมวิชาการ (Proceedings) (ประกาศฉบับที่ 3-2565)

      (1) การประชุมวิชาการระดับชาติ ต้องมีกองบรรณาธิการจัดทำรายงาน หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผู้ทรงคณวุฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น ๆ จากนอกสถาบันเจ้าภาพ อย่างน้อยร้อยละ 25 และการนำเสนอบทความวิจัยต้องมีผู้ประเมินบทความที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้น และมีบทความที่มาจากหน่วยงานภายนอกสถาบันอย่างน้อย 3 หน่วยงาน และรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 25

     (2) การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ต้องมีกองบรรณาธิการจัดทำรายงาน หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ จากต่างประเทศ อย่างน้อยร้อยละ 25

     ทั้งนี้ นักศึกษาจะต้องเป็นผู้นำเสนอผลงานวิจัยด้วยตนเองในวันและเวลาที่ผู้จัดประชุมกำหนด การนำเสนอจะเป็นการนำเสนอแบบปากเปล่าหรือแบบโปสเตอร์อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ 

6.4 ได้รับการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้ โดยผ่านการพิจารณาการประเมินบทความก่อนการเผยแพร่จากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่น้อยกว่า 3 คน (ประกาศฉบับปี-2560)

     (1) แบบประเมินคุณภาพบทความวิจัยของผู้ทรงคุณวุฒิ (แผน ข)

     (2) ตัวอย่างการจัดรูปแบบบทความวิจัย (แผน ข)

     (3) ขั้นตอนการตรวจสอบบทความวิจัยเพื่อการเผยแพร่ (แผน ข)

6.2 ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงาน ได้รับการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร หรือมีผลงานอื่นๆ ที่เทียบเท่า เช่น งานนวัตกรรม งานออกแบบสร้างสรรค์หรือต้นแบบที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ หรือสาธารณประโยชน์ได้ (ประกาศฉบับปรับปรุง-2556)

6.2 ได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับการตีพิมพ์จากบรรณาธิการหรือผู้จัดทำวารสาร ให้ตีพิมพ์ในวารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ในกลุ่มที่ 1 หรือกลุ่มที่ 2 โดยถือ ณ วันที่ผลงานนักศึกษาได้รับการตอบรับการตีพิมพ์เป็นหลัก (ประกาศฉบับปี-2560)

6.3 ได้รับการตีพิมพ์หรือตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงไทย (TCI) ในกลุ่มที่ 1 หรือ กลุ่มที่ 2 และอยู่ในฐานข้อมูล TCI หรือวารสารระดับชาติตามประกาศล่าสุดของคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) โดยถือ ณ วันที่ผลงานนักศึกษาได้รับการตีพิมพ์เป็นหลัก (ประกาศฉบับปรับปรุง-2556)

(ตรวจสอบรายชื่อวารสารที่อยู่ในฐาน TCI)

6.3 นำเสนอบทความวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติโดยบทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ต้องได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจาการประชุมวิชาการ (Proceedings) (ประกาศฉบับที่ 3-2565)

      (1) การประชุมวิชาการระดับชาติ ต้องมีกองบรรณาธิการจัดทำรายงาน หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผู้ทรงคณวุฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น ๆ จากนอกสถาบันเจ้าภาพ อย่างน้อยร้อยละ 25 และการนำเสนอบทความวิจัยต้องมีผู้ประเมินบทความที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้น และมีบทความที่มาจากหน่วยงานภายนอกสถาบันอย่างน้อย 3 หน่วยงาน และรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 25

     (2) การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ต้องมีกองบรรณาธิการจัดทำรายงาน หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ จากต่างประเทศ อย่างน้อยร้อยละ 25

     ทั้งนี้ นักศึกษาจะต้องเป็นผู้นำเสนอผลงานวิจัยด้วยตนเองในวันและเวลาที่ผู้จัดประชุมกำหนด การนำเสนอจะเป็นการนำเสนอแบบปากเปล่าหรือแบบโปสเตอร์อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้

6.4 นำเสนอบทความวิจัยในที่ประชุมวิชาการและบทความฉบับสมบูรณ์ ต้องได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ระดับชาติหรือนานาชาติที่มีกองบรรณาธิการจัดทำรายงาน หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ นอกสถาบันเจ้าภาพ หรือจากต่างประเทศ อย่างน้อยร้อยละ 25 โดยที่นักศึกษาต้องเป็นผู้นำเสนอผลงานด้วยตนเองในวันและเวลาที่ผู้จัดประชุมกำหนด การนำเสนอจะเป็นการเสนอแบบปากเปล่าหรือแบบโปสเตอร์อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ (ประกาศฉบับที่ 3-2565)

6.4 ได้รับการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้ โดยผ่านการพิจารณาการประเมินบทความก่อนการเผยแพร่จากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่น้อยกว่า 3 คน (ประกาศฉบับปี-2560)

     (1) แบบประเมินคุณภาพบทความวิจัยของผู้ทรงคุณวุฒิ (แผน ข)

     (2) ตัวอย่างการจัดรูปแบบบทความวิจัย (แผน ข)

     (3) ขั้นตอนการเผยแพร่บทความวิจัย (แผน ข)

6.5 ได้รับการเผยแพร่สู่สาธารณะ โดยผ่านการพิจารณาการประเมินบทความจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิก่อนการเผยแพร่ (เฉพาะนักศึกษาแผน ข) (ประกาศฉบับปรับปรุง-2556)

     (1) แบบประเมินคุณภาพบทความวิจัยของผู้ทรงคุณวุฒิ (แผน ข)

     (2) ตัวอย่างการจัดรูปแบบบทความวิจัย (แผน ข)

     (3) ขั้นตอนการเผยแพร่บทความวิจัย (แผน ข)

หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่สำคัญ

นักศึกษา รหัส 56 – 59

1. การจำแนกกลุ่มสาขาวิชา

   1.1 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกอบด้วย

       (1) สำนักวิชาวิทยาศาสตร์

       (2) สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

       (3) สำนักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร

       (4) สำนักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง

   1.2 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประกอบด้วย

       (1) สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุชภาพ

       (2) สำนักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ

   1.3 กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประกอบด้วย

       (1) สำนักวิชาศิลปศาสตร์

       (2) สำนักวิชาการจัดการ

       (3) สำนักวิชานิติศาสตร์

       (4) สำนักวิชาจีนวิทยา

     

2. กรณีนักศึกษาเปลี่ยนระดับการศึกษา จาก ระดับปริญญาโท เป็น ระดับปริญญาเอก ผลงานวิจัยที่ได้เผยแพร่ไปแล้วในระดับปริญญาโทนักศึกษา ไม่สามารถใช้ผลงานดังกล่าวเพื่อขอสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกได้

3. ชื่อของนักศึกษาต้องปรากฎเป็นชื่อแรกในเอกสารการเผยแพร่ผลงานวิจัย กรณีผลงานวิจัยที่เป็นชุดโครงการ ชื่อของนักศึกษาต้องปรากฎเป็นชื่อแรกหรือชื่อที่สอง รวมทั้งต้องระบุตามหลักสากลว่าเป็นผลงานที่ดำเนินการวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของการทำ ดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

นักศึกษา รหัส 60 เป็นต้นไป

1. การจำแนกกลุ่มสาขาวิชา

   1.1 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกอบด้วย

       (1) สำนักวิชาวิทยาศาสตร์

       (2) สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

       (3) สำนักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร

       (4) สำนักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง

   1.2 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประกอบด้วย

       (1) สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุชภาพ

       (2) สำนักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ

   1.3 กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประกอบด้วย

       (1) สำนักวิชาศิลปศาสตร์

       (2) สำนักวิชาการจัดการ

       (3) สำนักวิชานิติศาสตร์

       (4) สำนักวิชาจีนวิทยา

       (5) สำนักวิชานวัตกรรมสังคม

2. กรณีนักศึกษาเปลี่ยนระดับการศึกษา จาก ระดับปริญญาโท เป็น ระดับปริญญาเอก ผลงานวิจัยที่ได้เผยแพร่ไปแล้วในระดับปริญญาโท นักศึกษาสามารถใช้ผลงานดังกล่าวเพื่อขอสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกได้ โดยต้องผ่านความเห็นชอบจากจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร/คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำสำนักวิชา และคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

3. การเผยแพร่ผลงานวิจัยของนักศึกษา จะต้องมีชื่อของนักศึกษาปรากฎเป็นชื่อแรกในเอกสารการเผยแพร่ผลงานวิจัย (First Author) และต้องมีชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ เป็นชื่อผู้เขียนร่วม (Co-author) หรือผู้เขียนหลัก (Corresponding Author)

     กรณีอาจารย์ที่ปรึกษาประสงค์ที่จะไม่ระบุชื่อในเอกสารการเผยแพร่ผลงานวิจัยของนักศึกษา ให้แสดงความประสงค์ไว้ในแบบรายงานการเผยแพร่ผลงานวิจัยตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด

4. ผลงานวิจัยที่เผยแพร่ต้องระบุสังกัด (Affiliation) และที่อยู่ (กรณีต้องระบุ) ของนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ เป็นมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

จำนวนการเผยแพร่ผลงานวิจัยจากดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ
ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

นักศึกษา รหัส 56 – 59

ระดับปริญญาเอก

แบบ 1.1 และ 1.2 ทั้ง 3 กลุ่มสาขาวิชา

เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 – 6.2 ≥ 1 ผลงาน และ ข้อ 6.1 – 6.4 ≥ 1 ผลงาน

ระดับปริญญาเอก

แบบ 2.1 และ 2.2

  • กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 – 6.2 ≥ 1 ผลงาน
  • กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 – 6.2 ≥ 1 ผลงาน
  • กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 – 6.2 ≥ 1 ผลงาน หรือ ข้อ 6.3 ≥ 2 ผลงาน

ระดับปริญญาโท

แผน ก1 ทั้ง 3 กลุ่มสาขาวิชา เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 – 6.4 ≥ 2 ผลงาน

แผน ก2 ทั้ง 3 กลุ่มสาขาวิชา เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 – 6.4 ≥ 1 ผลงาน

แผน ข ทั้ง 3 กลุ่มสาขาวิชา เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 – 6.5 ≥ 1 ผลงาน

นักศึกษา รหัส 60 เป็นต้นไป

ระดับปริญญาเอก

แบบ 1.1 และ 1.2 ทั้ง 3 กลุ่มสาขาวิชา

เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 ≥ 1 ผลงาน และ ข้อ 6.1 – 6.2 ≥ 1 ผลงาน

ระดับปริญญาเอก

แบบ 2.1 และ 2.2

  • กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 ≥ 1 ผลงาน
  • กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 ≥ 1 ผลงาน
  • กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 – 6.2 ≥ 1 ผลงาน

ระดับปริญญาโท

แผน ก1 ทั้ง 3 กลุ่มสาขาวิชา เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 – 6.2 ≥ 1 ผลงาน

แผน ก2 ทั้ง 3 กลุ่มสาขาวิชา เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 – 6.3 ≥ 1 ผลงาน

แผน ข ทั้ง 3 กลุ่มสาขาวิชา เผยแพร่ผลงานตามข้อ 6.1 – 6.4 ≥ 1 ผลงาน

Scroll to Top